เมนู

อภิธรรมภาชนีย์


[32] ขันธ์ 5 คือ
1. รูปขันธ์
2. เวทนาขันธ์
3. สัญญาขันธ์
4. สังขารขันธ์
5. วิญญาณขันธ์

รูปขันธ์


ในขันธ์ 5 นั้น รูปขันธ์ เป็นไฉน ?
[33] รูปขันธ์หมวดละ 1 คือ รูปทั้งหมด เป็นเหตุเป็นอเหตุกะ
เป็นเหตุวิปปยุต เป็นสัปปัจจยะ เป็นสังขตะ เป็นรูปเป็นโลกิยะ เป็นสาสวะ
เป็นสัญโญชนิยะ เป็นคันถนิยะ เป็นโอฆนิยะ เป็นโยคนิยะ เป็นนีวรณิยะ
เป็นปรามัฏฐะ เป็นอุปาทานิยะ เป็นสังกิเลสิกะ เป็นอัพยากฤต เป็นอนารัมมณะ
เป็นอเจตสิก เป็นจิตตวิปปยุต เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นอสังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกะ เป็นนสวิตักกสวิจาระ เป็นนอวิตักกวิจารมัตตะ เป็นอวิตักกอ-
วิจาระ เป็นนปีติสหคตะ เป็นนสุขสหคตะ เป็นนอุเปกขาสหคตะ เป็น
เนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เป็น
เนวาจยคามินาปจยคามี เป็นเนวเสกขนาเสกขะ เป็นปริตตะ เป็นกามาวจร
เป็นนรูปาวจร เป็นนอรูปาวจร เป็นปริยาปันนะ เป็นนอปริยาปันนะ เป็น

อนิยตะ เป็นอนิยยานิกะ เป็นอุปปันนฉวิญญาณวิญเญยยะ เป็นอนิจจะ เป็น
ชราภิภูตะ รูปขันธ์หมวดละ 1 ด้วยประการฉะนี้.
[34] รูปขันธ์หมวดละ 2 คือ รูปเป็นอุปาทา รูปเป็นอนุปาทา
รูปเป็นอุปาทินนะ รูปเป็นอนุปาทินนะ รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ รูปเป็น
อนุปาทินนุปาทานิยะ รูปเป็นอนิทสัสนะ รูปเป็นอนิทสัสนะ รูปเป็นสัปปฏิฆะ
รูปเป็นอัปปฏิฆะ รูปเป็นอินทรีย์ รูปไม่เป็นอินทรีย์ รูปเป็นมหาภูต รูปไม่เป็น
มหาภูต รูปเป็นวิญญัตติ รูปไม่เป็นวิญญัติ รูปเป็นจิตตสมุฏฐาน รูปไม่เป็น
จิตตสมุฏฐาน รูปเป็นจิตตสหภู รูปไม่เป็นจิตตสหภู รูปเป็นจิตตานุปริวัตติ
รูปไม่เป็นจิตตานุปริวัตติ รูปเป็นอัชฌัตติกะ รูปเป็นพาหิระ รูปเป็นโอฬาริกะ
รูปเป็นสุขุมะ รูปเป็นทูเร รูปเป็นสันติเก ฯลฯ รูปเป็นกวฬิงการาหาร รูป
ไม่เป็นกวฬิงการาหาร รูปขันธ์หมวดละ 2 ด้วยประการฉะนี้.
[35] รูปขันธ์หมวดละ 3 คือ อัชฌัตติกรูปเป็นอุปาทา พาหิรรูป
เป็นอุปาทา พาหิรรูปเป็นอนุปาทา อัชฌัตติกรูปเป็นอุปาทินนะ พาหิรรูป
เป็นอุปาทินนะ พาหิรรูปเป็นอนุปาทินนะ อัชฌัตติกรูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ
พาหิรูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ พาหิรรูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ ฯลฯ อัช-
ฌัตติกรูปไม่เป็นกวฬิงการาหาร พาหิรรูปเป็นกวฬิงการาหาร พาหิรรูปไม่เป็น
กวฬิงการาหาร รูปขันธ์หมวดละ 3 ด้วยประการฉะนี้.
[36] รูปขันธ์หมวดละ 4 คือ อุปาทารูปเป็นอุปาทินนะ อุปาทารูป
เป็นอนุปาทินนะ อนุปาทารูปเป็นอุปาทินนะ อนุปาทารูปเป็นอนุปาทินนะ
อุปาทารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ อุปาทารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ อนุปา-
ทารูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ อนุปาทารูปเป็นอนุปาทานิยะ อุปาทารูปเป็น
สัปปฏิฆะ อุปาทารูปเป็นอัปปฏิฆะ อนุปาทารูปเป็นสัปปฏิฆะ อนุปาทารูปเป็น

อัปปฏิฆะ อุปาทารูปเป็นโอฬาริกะ อุปาทารูปเป็นสุขุมะ อนุปาทารูปเป็น
โอฬาริกะ อนุปาทารูปเป็นสุขุมะ อุปาทารูปเป็นทูเร อุปาทารูปเป็นสันติเก
อนุปาทารูปเป็นทูเร อนุปาทารูปเป็นสันติเก ฯลฯ ทิฏฐิรูป สุตรูป มุตรูป
วิญญาตรูป รูปขันธ์หมวดละ 4 ด้วยประการฉะนี้.
[37] รูปขันธ์หมวดละ 5 คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ
วาโยธาตุ อุปาทารูป รูปขันธ์หมวดละ 5 ด้วยประการฉะนี้.
[38] รูปขันธ์หมวดละ 6 คือ จักขุวิญเญยยรูป โสตวิญเญยยรูป
ฆานวิญเญยยรูป ชิวหาวิญเญยยรูป กายวิญเญยรูป มโนวิญเญยยรูป รูปขันธ์
หมวดละ 6 ด้วยประการฉะนี้.
[39] รูปขันธ์หมวดละ 7 คือ จักขุวิญเญยยรูป ฯลฯ มโนธาตุวิญ-
เญยยรูป มโนวิญญาณธาตุวิญเญยยรูป รูปขันธ์หมวดละ 7 ด้วยประการฉะนี้.
[40] รูปขันธ์หมวดละ 8 คือ จักขุวิญเญยยรูป ฯลฯ สุขสัมผัสส-
กายวิญเญยยรูป ทุกขสัมผัสสกายวิฌเญยยรูป มโนธาตุวิญเญยยรูป มโน-
วิญญาณธาตุวิญเญยยรูป รูปขันธ์หมวดละ 8 ด้วยประการฉะนี้.
[41] รูปขันธ์หมวดละ 9 คือ จักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์
ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ รูปไม่เป็น
อินทรีย์ รูปขันธ์หมวด 9 ด้วยประการฉะนี้.
[42 ] รูปขันธ์หมวดละ 10 คือ จักขุนทรีย์ ฯลฯ ชีวิตินทรีย์ รูปไม่
เป็นอินทรีย์เป็นสัปปฏิฆะ รูปไม่เป็นอินทรีย์เป็นอัปปฏิฆะ รูปขันธ์หมวดละ
10 ด้วยประการฉะนี้.
[43] รูปขันธ์หมวดละ 11 คือ จักขายตนะ โสตายนะ ฆานายตนะ
ชิวหายตนะ กายายตนะ รูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ

โผฏฐัพพายตนะ และรูปที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้นับเนื่องในธรรมายตนะ รูป
ขันธ์หมวดละ 11 ด้วยประการฉะนี้.
สภาวธรรมนี้เรียกว่า รูปขันธ์.

เวทนาขันธ์


เวทนาขันธ์

เป็นไฉน ?
[ทุกมูลกวาร]
[44] เวทนาขันธ์หมวดละ 1 คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
เวทนาขันธ์หมวดละ 2 คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ
เวทนาขันธ์หมวดละ 3 คือ เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็น
อัพยากฤต
เวทนาขันธ์หมวดละ 4 คือ เวทนาขันธ์เป็นกามาวจร เป็นรูปาวจร
เป็นอรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ
เวทนาขันธ์หมวดละ 5 คือ เวทนาขันธ์เป็นสุขินทรีย์ เป็นทุกขินทรีย์
เป็นโสมนัสสินทรีย์ เป็นโทมนัสสินทรีย์ เป็นอุเปกขินทรีย์
เวทนาขันธ์หมวดละ 6 คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสสชา-
เวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชาเวทนา
มโนสัมผัสสชาเวทนา เวทนาขันธ์หมวดละ 6 ด้วยประการฉะนี้.
เวทนาขันธ์หมวดละ 7 คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ กายสัมผัสส-
ชาเวทนา มโนธาตุสัมผัสสชาเวทนา มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาเวทนา
เวทนาขันธ์หมวดละ 7 ด้วยประการฉะนี้.