เมนู

สัจนิทเทส


[10] ทุกข์ ควรรู้ยิ่ง ทุกขสมุทัย ....ทุกขนิโรธ ... ทุกข-
นิโรธคามีนีปฏิปทา... รูป... รูปสมุทัย...รูปนิโรธ ...รูปนิโรธคามิ-
นีปฏิปทา ... เวทนา ... สัญญา... สังขาร ... วิญญาณ ...จักขุ ฯลฯ
ชรามรณะ ... ชรามรณสมุทัย ... ชรามรณนิโรธ... ชรามรณนิโรธ-
คามินีปฏิปทา ( ทุกอย่าง ) ควรรู้ยิ่ง.
[11] สภาพที่ควรกำหนดรู้แห่งทุกข์ ภาพที่ควรละแห่ง
ทุกขสมุทัย สภาพที่ควรทำให้แจ้งแห่งทุกขนิโรธ สภาพที่ควรเจริญ
แห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา สภาพที่ควรกำหนดรู้แห่งรูป ภาพที่ควร
ละแห่งรูปสมุทัย ภาพที่ควรทำให้แจ้งแห่งรูปนิโรธ สภาพที่ควรเจริญ
แห่งรูปนิโรธคามินีปฏิปทา ภาพที่ควรกำหนดรู้แห่งเวทนา ฯลฯ
สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณ ฯลฯ แห่งจักขุ ฯลฯ
สภาพที่ควรกำหนดรู้แห่งชรามรณะ สภาพที่ควรละแห่งชรามรณสมุทัย
สภาพที่ควรทำให้แจ้งแห่งชรามรณนิโรธ ภาพที่ควรเจริญแห่งชรา-
มรณนิโรธคามินีปฏิปทา ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง.
12] ภาพที่แทงตลอดด้วยการกำหนดรู้ทุกข์ สภาพที่แทง
ตลอดด้วยการลุทุกขสมุทัย สภาพที่แทงตลอดด้วยการทำให้แจ้งทุกข์
นิโรธ สภาพที่แทงตลอดด้วยการเจริญทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา สภาพ
ที่แทงตลอดด้วยการกำหนดรู้รูป ภาพที่แทงตลอดด้วยการละรูปสมุทัย

สภาพที่แทงตลอดด้วยการทำให้แจ้งรูปนิโรธ สภาพที่แทงตลอดด้วย
การเจริญรูปนิโรธคามินีปฏิปทา สภาพที่แทงตลอดด้วยการเจริญเวทนา
ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณ ฯลฯ จักขุ ฯลฯ
สภาพที่แทงตลอดด้วยการกำหนดรู้ชรามรณะ สภาพที่แทงตลอดด้วย
การละชรามรณสมุทัย สภาพที่แทงตลอดด้วยการทำให้แจ้งชรามรณ-
นิโรธ สภาพที่แทงตลอดด้วยการเจริญชรามรณนิโรธคามินีปฏิปทา
ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง.
[13] ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความดับทุกข์ ความดับเหตุ
ให้เกิดทุกข์ ความดับฉันทราคะในทุกข์ ความยินดีในทุกข์ โทษแห่ง
ทุกข์ อุบายเครื่องสลัดออกแห่งทุกข์ รูป เหตุให้เกิดรูป ความดับเหตุ
ให้เกิดรูป ความยินดีในรูป โทษแห่งรูป อุบายเครื่องสลัดออกแห่ง
รูป แห่งเวทนา ฯลฯ แห่งสัญญา ฯลฯ แห่งสังขาร ฯลฯ แห่ง
วิญญาณ ฯลฯ แห่งจักขุ ฯลฯ ชราและมรณะ เหตุให้เกิดชราและ
มรณะ ความดับชราและมรณะ ความดับเหตุให้เกิดชราและมรณะ
ความดับฉันทราคะในชราและมรณะ คุณแห่งชราและมรณะ โทษแห่ง
ชราและมรณะ อุบายเครื่องสลัดออกแห่งชราและมรณะ ควรรู้ยิ่งทุก
อย่าง.
[14] ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโร ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
ความยินดีในทุกข์ โทษแห่งทุกข์ อุบายเครื่องสลัดออกแห่งทุกข์ รูป
เหตุให้เกิดรูป ความดับรูป ปฏิปทาอันให้ถึงความดับรูป ความยินดี

ในรูป โทษแห่งรูป อุบายเครื่องสลัดออกแห่งรูป เวทนา ฯลฯ
สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณ ฯลฯ จักขุ ฯลฯ ชรา
และมรณะ เหตุให้เกิดชราและมรณะ ความดับชราและมรณะ ปฏิปทา
อันให้ถึงความดับชราและมรณะ ความยินดีในชราและมรณะ โทษแห่ง
ชราและมรณะ อุบายเครื่องสลัดออกแห่งชราและมรณะ ควรรู้ยิ่งทุก
อย่าง.
[15] การพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง การพิจารณาเห็นทุกข์
การพิจารณาเห็นอนัตตา การพิจารณาเห็นด้วยความเบื่อหน่าย การ
พิจารณาเห็นด้วยความคลายกำหนัด การพิจารณาเห็นด้วยความดับ
การพิจารณาเห็นด้วยความสละคืน การพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงในรูป
การพิจารณาเห็นความทุกข์ในรูป การพิจารณาเห็นอนัตตาในรูป การ
พิจารณาเห็นด้วยความเบื่อหน่ายในรูป การพิจารณาเห็นด้วยความ
คลายกำหนัดในรูป การพิจารณาเห็นด้วยความดับในรูป การพิจารณา
เห็นด้วยความสละคืนในรูป การพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงในเวทนา
ฯลฯ ในสัญญา ฯลฯ ในสังขาร ฯลฯ ในวิญญาณ ฯลฯ ใน
จักขุ ฯลฯ การพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงในชราและมรณะ การ
พิจารณาเห็นทุกข์ในชราและมรณะ การพิจารณาเห็นอนัตตาในชรา
และมรณะ การพิจารณาเห็นด้วยความเบื่อหน่ายในชราและมรณะ การ
พิจารณาเห็นด้วยความคลายกำหนัดในชราและมรณะ การพิจารณา

เห็นความดับในชราและมรณะ การพิจารณาเห็นด้วยความสละคืนใน
ชราและมรณะ ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง.
[16] ความเกิดขึ้น ความเป็นไป เครื่องหมาย ความประมวล
มา ( กรรมอันปรุงแต่งปฏิสนธิ ) ปฏิสนธิ คติ ความบังเกิด อุบัติ
ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ อุปายาส ความไม่เกิดขึ้น
ความไม่เป็นไป ความไม่มีเครื่องหมาย ความไม่มีประมวลมา ความ
ไม่สืบต่อ ความไม่ไป ความไม่บังเกิด ความไม่อุบัติ ความไม่เกิด
ความไม่แก่ ความไม่ป่วยไข้ ความไม่ตาย ความไม่เศร้าโศก ความ
ไม่รำพัน, ความไม่คับแค้นใจ ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง.
[17] ความเกิดขึ้น ความไม่เกิดขึ้น ความเป็นไป ความ
ไม่เป็นไป เครื่องหมาย ความไม่มีเครื่องหมาย ความประมวลมา
ความไม่ประมวลมา ความสืบต่อ ความไม่สืบต่อ ความไป ความไม่ไป
ความบังเกิด ความไม่บังเกิด ความอุบัติ ความไม่อุบัติ ความเกิด
ความไม่เกิด ความแก่ ความไม่แก่ ความป่วยไข้ ความไม่ป่วยไข้
ความตาย ความไม่ตาย ความเศร้าโศก ความไม่เศร้าโศก ความรำพัน
ความไม่รำพัน ความคับแค้นใจ ความไม่คับแค้นใจ ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง.
[18] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นเป็นทุกข์ ความเป็นไปเป็น
ทุกข์ เครื่องหมายเป็นทุกข์ ความประมวลมาเป็นทุกข์ ปฏิสนธิเป็น
ทุกข์ คติเป็นทุกข์ ความบังเกิดเป็นทุกข์ อุบัติเป็นทุกข์ ชาติเป็นทุกข์

พยาธิเป็นทุกข์ มรณะเป็นทุกข์ โสกะเป็นทุกข์ ปริเทวะเป็นทุกข์
อุปายาสเป็นทุกข์.
[19] ควรรู้ยิ่งว่า ความไม่เกิดขึ้นเป็นสุข ความไม่เป็นไป
เป็นสุข ความไม่มีเครื่องหมายเป็นสุข ความไม่ประมวลมาเป็นสุข
ความไม่สืบต่อเป็นสุข ความไม่ไปเป็นสุข ความไม่บังเกิดเป็นสุข ความ
ไม่อุบัติเป็นสุข ความไม่เกิดเป็นสุข ความไม่แก่เป็นสุข ความไม่ป่วย
ไข้เป็นสุข ความไม่ตายเป็นสุข ความไม่เศร้าโศกเป็นสุข ความไม่
รำพันเป็นสุข ความไม่คับแค้นใจเป็นสุข.
[20] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นเป็นทุกข์ ความไม่เกิดขึ้น
เป็นสุข ความเป็นไปเป็นทุกข์ ความไม่เป็นไปเป็นสุข เครื่องหมาย
เป็นทุกข์ ความไม่มีเครื่องหมายเป็นสุข ความประมวลมาเป็นทุกข์
ความไม่ประมวลมาเป็นสุข ความสืบต่อเป็นทุกข์ ความไม่สืบต่อเป็น
สุข ความไปเป็นทุกข์ ความไม่ไปเป็นสุข ความบังเกิดเป็นทุกข์ ความ
ไม่บังเกิดเป็นสุข ความอุบัติเป็นทุกข์ ความไม่อุบัติเป็นสุข ความเกิด
เป็นทุกข์ ความไม่เกิดเป็นสุข ความแก่เป็นทุกข์ ความไม่แก่เป็นสุข
ความป่วยไข้เป็นทุกข์ ความไม่ป่วยไข้เป็นสุข ความตายเป็นทุกข์
ความไม่ตายเป็นสุข ความเศร้าโศกเป็นทุกข์ ความไม่เศร้าโศกเป็นสุข
ความรำพันเป็นทุกข์ ความไม่รำพันเป็นสุข ความคับแค้นใจเป็นทุกข์
ความไม่คับแค้นใจเป็นสุข.

[21] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นเป็นภัย ความเป็นไปเป็นภัย
เครื่องหมายเป็นภัย ความประมวลมาเป็นภัย ความสืบต่อเป็นภัย
ความไปเป็นภัย ความบังเกิดเป็นภัย ความอุบัติเป็นภัย ความเกิดเป็น
ภัน ความแก่เป็นภัย ความป่วยไข้เป็นภัย ความตายเป็นภัย ความ
เศร้าโศกเป็นภัย ความรำพันเป็นภัย ความคับแค้นใจเป็นภัย.
[22] ควรรู้ยิ่งว่า ความไม่เกิดขึ้นปลอดภัย ความไม่
เป็นไปปลอดภัย ความไม่มีเครื่องหมาย ปลอดภัย ความไม่ประมวลมา
ปลอดภัย ความไม่สืบต่อปลอดภัย ความไม่ไปปลอดภัย ความไม่บังเกิด
ปลอดภัย ความไม่อุบัติปลอดภัย ความไม่เกิดปลอดภัย ความไม่แก่
ปลอดภัย ความไม่ป่วยไข้ปลอดภัย ความไม่ตายปลอดภัย ความไม่
เศร้าโศกปลอดภัย ความไม่รำพันปลอดภัย ความไม่คับแค้นใจปลอดภัย.
[23] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นเป็นภัย ความไม่เกิดขึ้น
ปลอดภัย ความเป็นไปเป็นภัย ความไม่เป็นไปปลอดภัย เครื่องหมาย
เป็นภัย ความไม่มีเครื่องหมายปลอดภัย ความประมวลมาเป็นภัย ความ
ไม่ประมวลมาปลอดภัย ความสืบต่อเป็นภัย ความไม่สืบต่อปลอดภัย
ความไปเป็นภัย ความไม่ไปปลอดภัย ความบังเกิดเป็นภัย ความไม่
บังเกิดปลอดภัย ความอุบัติเป็นภัย ความไม่อุบัติปลอดภัย ความเกิด
เป็นภัย ความไม่เกิดปลอดภัย ความป่วยไข้เป็นภัย ความไม่ป่วยไข้
ปลอดภัย ความตายเป็นภัย. ความไม่ตายปลอดภัย ความเศร้าโศก

เป็นภัย ความไม่เศร้าโศกปลอดภัย ความรำพันเป็นภัย ความไม่รำพัน
ปลอดภัย ความคับแค้นใจเป็นภัย ความไม่คับแค้นใจปลอดภัย.
[24] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นมีอามิส ( เครื่องล่อ ) ความ
เป็นไปมีอามิส ความสืบต่อมีอามิส ความประมวลมามีอามิส ความ
บังเกิดมีอามิส ความอุบัติมีอามิส ความเกิดมีอามิส ความป่วยไข้มีอามิส
ความตายมีอามิส ความเศร้าโศกมีอามิส ความรำพันมีอามิส ความ
คับแค้นใจมีอามิส.
[25] ควรรู้ยิ่งว่า ความไม่เกิดขึ้นไม่มีอามิส (หมดเครื่องล่อ)
ความไม่เป็นไปไม่มีอามิส ความไม่มีเครื่องหมายไม่มีอามิส ความไม่
ประมวลมาไม่มีอามิส ความไม่สืบต่อไม่มีอามิส ความไม่ไปไม่มีอามิส
ความไม่บังเกิดไม่มีอามิส ความไม่มีอุบัติไม่มีอามิส ความไม่เกิดไม่มี
อามิส ความไม่แก่ไม่มีอามิส ความไม่ป่วยไข้ไม่มีอามิส ความไม่ตาย
ไม่มีอามิส ความไม่เศร้าโศกไม่มีอามิส ความไม่รำพันไม่มีอามิส ความ
ไม่คับแค้นใจไม่มีอามิส.
[26] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นมีอามิส ความไม่เกิดขึ้นไม่มี
อามิส ความเป็นไปมีอามิส ความไม่เป็นไปไม่มีอามิา เครื่องหมาย
มีอามิส ความไม่มีเครื่องหมายไม่มีอามิส ความประมวลมามีอามิส
ความไม่ประมวลมาไม่มีอามิส ความสืบต่อมีอามิส ความไม่สืบต่อไม่มี
อามิส ความไปมีอามิส ความไม่ไปไม่มีอามิส ความบังเกิดมีอามิส
ความไม่บังเกิดไม่มีอามิส ความอุบัติไม่มีอามิส ความไม่อุบัติไม่มีอามิส

ความเกิดมีอามิส ความไม่เกิดไม่มีอามิส ความแก่มีอามิส ความไม่แก่
ไม่มีอามิส ความป่วยไข้มีอามิส ความไม่ป่วยไข้ไม่มีอามิส ความตาย
มีอามิส ความไม่ตายไม่มีอามิส ความเศร้าโศกมีอามิส ความไม่เศร้า-
โศกไม่มีอามิส ความรำพันมีอามิส ความไม่รำพันไม่มีอามิส ความ
คับแค้นใจมีอามิส ความไม่คับแค้นใจไม่มีอามิส.
[27] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นเป็นสังขาร ความเป็นไปเป็น
สังขาร เครื่องหมายเป็นสังขาร ความประมวลมาเป็นสังขาร ความ
อุบัติเป็นสังขาร ความไปเป็นสังขาร ความบังเกิดเป็นสังขาร ความ
อุบัติเป็นสังขาร ความเกิดเป็นสังขาร ความแก่เป็นสังขาร ความป่วยไข้
เป็นสังขาร ความตายเป็นสังขาร ความเศร้าโศกเป็นสังขาร ความ
รำพันเป็นสังขาร ความคับแค้นใจเป็นสังขาร.
[280] ควรรู้ยิ่งว่า ความไม่เกิดขึ้นเป็นนิพพาน ความไม่
เป็นไปเป็นนิพพาน ความไม่มีเครื่องหมายเป็นนิพพาน ความไม่
ประมวลมาเป็นนิพพาน ความไม่สืบต่อเป็นนิพพาน ความไม่ไปเป็น
นิพพาน ความไม่บังเกิดเป็นนิพพาน ความไม่อุบัติเป็นนิพพาน ความ
ไม่เกิดเป็นนิพพาน. ความไม่แก่เป็นนิพพาน ความไม่ป่วยไข้เป็น
นิพพาน ความไม่ตายเป็นนิพพาน ความไม่เศร้าโศกเป็นนิพพาน
ความไม่รำพันเป็นนิพพาน ความไม่คับแค้นใจเป็นนิพพาน.

[29] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นเป็นสังขาร ความไม่เกิดขึ้น
เป็นนิพพาน ความเป็นไปเป็นสังขาร ความไม่เป็นไปเป็นนิพพาน
เครื่องหมายเป็นสังขาร ความไม่มีเครื่องหมายเป็นนิพพาน ความ
ประมวลมาเป็นสังขาร ความไม่ประมวลมาเป็นนิพพาน ความสืบต่อ
เป็นสังขาร ความไม่สืบต่อเป็นนิพพาน ความไปเป็นสังขาร ความไม่
ไปเป็นนิพพาน ความบังเกิดเป็นสังขาร ความไม่บังเกิดเป็นนิพพาน
ความอุบัติเป็นสังขาร ความไม่อุบัติเป็นนิพพาน ความเกิดเป็นสังขาร
ความไม่เกิดเป็นนิพพาน ความแก่เป็นสังขาร ความไม่แก่เป็นนิพพาน
ความป่วยไข้เป็นสังขาร ความไม่ป่วยไข้เป็นนิพพาน ความตายเป็น
สังขาร ความไม่ตายเป็นนิพพาน ความเศร้าโศกเป็นสังขาร ความ
ไม่เศร้าโศกเป็นนิพพาน ความรำพันเป็นสังขาร ความไม่รำพันเป็น
นิพพาน ความคับแค้นใจเป็นสังขาร ความไม่คับแค้นใจเป็นนิพพาน.
จบ ปฐมภาณวาร
________________________

อรรถกถาทุกขสัจเป็นต้น


10 ] พระสารีบุตรได้ชี้แจงถึงการวิสัชนา 808 ข้อ มีทุกข์
เป็นต้นโดยประกอบเข้ากับอริยสัจ 4. พระสารีบุตรกล่าวประมวล การ
วิสัชนา 24 อย่าง ด้วยจตุกกะ 6 ไว้ในบทมี อาทิว่า ทุกฺขํ อภิญฺเญยฺยํ
ทุกข์ ควรรู้ยิ่ง ด้วยการวิสัชนา 195 มีอาทิว่า จกฺขุํ อภิญฺเญยฺยํ