เมนู

ช่วยพยาบาลอันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริกผู้อาพาธ, เป็นผู้สามารถระงับเองหรือ
ให้ผู้อื่นช่วยระงับความกระสันของอันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก เป็นผู้สามารถ
บรรเทาเองหรือให้ผู้อื่นช่วยบรรเทาความรังเกียจ ซึ่งเกิดขึ้นแล้วเสียโดยธรรม,
เป็นผู้สมามารถแนะนำในอภิธรรม แนะนำในอภิวินัย.1

ว่าด้วยทรงอนุญาตนิสยาจารย์


บทว่า ปกฺขสงฺกนฺเตสุ ได้แก่ ไปเข้าพวกเดียรถีย์.
ข้อว่า อนุชานามิ ภิกฺขเว อาจริยํ มีความว่า เราอนุญาตอาจารย์
ผู้ฝึดหัดอาจาระและสมาจาร.
คำทั้งปวงเเป็นต้นว่า อาจริโย ภิกฺขเว อนฺเตวาสิกมฺหิ พึงทราบ
ด้วยอำนาจคำที่ กล่าวแล้วโดยนัยเป็นต้นว่า อุปชฺฌาโย ภิกฺขเว สทฺธิ-
วิหารริกมฺหิ
นั่นแล. เพราะว่า ในคำว่า อาจริโย เป็นต้น ต่างกันแต่เพียง
ชื่อเท่านั้น.
ส่วนในคำว่า อันเทวาสิกทั้งหลายไม่พระพฤติชอบในอาจารย์ทั้งหลาย
นี้ผู้ศึกษาพึงทราบว่า เป็นอาบัติแก่นิสสยันเตวาสิก โดยลักษณะที่ข้าพเจ้า
กล่าวไว้แล้วในหนหลังนั้นแลว่า ก็ในการไม่ประพฤติชอบ มีวินิจฉัยดังนี้:-
เมื่อสัทธิวิหาริกไม่ทำวัตรเพียงย้อมจีวร ความเสื่อมย่อมมีแก่อุปัชฌาย์ เพราะ
เหตุนั้น จึงเป็นอาบัติเหมือนกันทั้งผู้พ้นนิสัยแล้ว ทั้งผู้ยังไม่พ้น ซึ่งไม่ทำวัตร
นั้นและว่า ตั้งแต่ให้บาตรแก่คนบางคนไป เป็นอาบัติแก่ผู้ยังไม่พ้น นิสัยเท่านั้น
เพราะว่านิสสยันเตวาสิก ควรทำอาจริยวัตรทั้งปวง เพียงเวลาที่ตนอาศัย
อาจารย์อยู่. ฝ่ายปัพพชันเตวาสิก อุปสัมปทันเตวาสิกและธัมมันเตวาสิกแม้พ้น

1. ดูกำอธิบายหน้า 232.