เมนู

24. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว
ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . . เมื่อคนอื่นเข้าใจ
ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
25. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว
ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . . เมื่อคนอื่นเข้าใจ
ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
26. ภิกษุรู้อยู่. . . แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
27. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
28. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ. . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
29. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว . . . เมื่อ
คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
พัทธจักร ทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
มีอุตริมนุสธรรม 2 ข้อเป็นมูล จบ

พัทธจักร ทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ


ที่ท่านย่อไว้


[276] 1. ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจาก
โทสะ และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ดังนี้ แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้า
ปฐมฌานแล้ว ด้วยอาการ 3 อย่าง . . .4 อย่าง . . .5 อย่าง . . .6 อย่าง
. . . 7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าว

เท็จ 3 ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว 4 อำพรางความเห็น 5 อำพราง
ความถูกใจ 6 อำพรางความชอบใจ 7 อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ
ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
2. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว . . . เมื่อ
คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
3. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานแล้ว . . . เมื่อ
คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
4. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว . . . เมื่อ
คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
5. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
6. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
7. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
8. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย. .
9. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
10. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

11. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติติแล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
12 ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
13. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว. . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
14. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา 3 แล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเข้าไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
15. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน 4 แล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
16. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน 4 แล้ว. . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
17. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท 4 แล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
18. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ 5 แล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
19. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ 5 แล้ว . . . เมื่อ
คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
20. ภิกษุรู้อยู่. . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ 7 แล้ว . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
21. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ 8 แล้ว
. . . เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.

22. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
23. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
24. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
25. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตผลแล้ว . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
26. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละ.แล้ว คายแล้ว
ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . . เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
27. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว
ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . . เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
28. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว
ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว . . . เมื่อคนอื่นเข้าใจ
ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
29. ภิกษุรู้อยู่ . . . แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ . . .
เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
พัทธจักร ทุมูลกนัย มีอุตริมนุสธรรม 2 ข้อเป็นมูล
แห่งวัตถุนิสสารกะ ที่ท่านย่อไว้ จบ

[277] พัทธจักรแห่งวัตถุนิสสารกะ มีอุตริมนุสธรรม 3 ข้อเป็น
มูลก็ดี มีอุตริมนุสธรรม 4 ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตริมนุสธรรม 5 ข้อเป็น
มูลก็ดี มีอุตริมนุสธรรม 6 ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตริมนุสธรรม 7 ข้อเป็น
มูลก็ดี มีอุตริมนุสธรรม 8 ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตรินนุสธรรม 9 ข้อเป็น
มูลก็ดี มีอุตริมนุสธรรม 10 ข้อเป็นมูลก็ดี บัณฑิตพึงทำ ให้เหมือน
พัทธจักร แม้มีอุตริมนุสธรรมข้อหนึ่ง ๆ เป็นมูล แห่งนิกเขปบททั้งหลาย
ที่กล่าวไว้แล้วฉะนั้น พึงให้พิสดารเหมือนพัทธจักร มีอุตริมนุสธรรมข้อ
หนึ่งเป็นมูล ที่ท่านให้พิสดารแล้วนั้นเถิด

พัทจักร สัพพมูลกนัย


มีอุตริมนุสธรรมทุกข้อเป็นมูล ดังนี้:-


[278] ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน ทุติย-
ฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน สุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ อัปปณิหิตวิโมกข์
สุญญตสมาบัติติ อนิมิตตสมาบัติ อัปปณิหิตสมาบัติ วิชชา 3 สติปัฏฐาน 4
สัมมัปปธาน 4 อิทธิบาท 4 อินทรีย์ 5 พละ 5 โพชฌงค์ 7 อริยมรรค
มีองค์ 8 โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล และอรหัตผลแล้ว ราคะ
ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว
โทสะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว
ถอนแล้ว โมหะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สละแล้ว
เพิกแล้ว ถอนแล้ว จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ
และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ 3 อย่าง . . .4 อย่าง . . .5 อย่าง
. . . 6 อย่าง . . .7 อย่าง คือ 1 เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ 2 กำลังกล่าว